ข่าว I ล่าสุด (19)

แฮกเกอร์จากเกาหลีเหนือใช้มัลแวร์ ForceCopy ขโมยรหัสผ่านจากเว็บเบราว์เซอร์

แฮกเกอร์จากเกาหลีเหนือใช้มัลแวร์ ForceCopy ขโมยรหัสผ่านจากเว็บเบราว์เซอร์

เมื่อ : 17 กุมภาพันธ์ 2568
ผู้ชม : 2,576
แฮกเกอร์ส่งอีเมล Phishing หลอกเหยื่อเปิดไฟล์ .LNK ดาวน์โหลดมัลแวร์หลายตัวลงเครื่อง ทั้งควบคุม และขโมยรหัสผ่าน
TikTok เปิดให้ผู้ใช้งานในสหรัฐ Sideloading แทน แล้วหลังถูกแบนจาก App Store และ Google Play

TikTok เปิดให้ผู้ใช้งานในสหรัฐ Sideloading แทน แล้วหลังถูกแบนจาก App Store และ Google Play

เมื่อ : 17 กุมภาพันธ์ 2568
ผู้ชม : 2,049
แอป TikTok ถูกถอดจากสโตร์จากนโยบายการแบน ทำให้ทาง บ เปิดให้ดาวน์โหลดได้โดยตรงจากเว็บไซต์สำหรับผู้ใช้ในสหรัฐ
ตรวจพบ \

ตรวจพบ "พาหะ" ในการทำ Process Hallowing ตัวใหม่ "โดยบังเอิญ" บน Windows 11 24H2

เมื่อ : 14 กุมภาพันธ์ 2568
ผู้ชม : 2,370
รุ่นล่าสุดมีการเปลี่ยนแปลงการจองหน่วยความจำของ Windows Loader ทำให้เทคนิค Process Hallowing ใช้งานไม่ได้
แฮกเกอร์ปล่อย SparkRAT เข้ายึดระบบเครื่องที่ใช้งาน Windows, macOS และ Linux

แฮกเกอร์ปล่อย SparkRAT เข้ายึดระบบเครื่องที่ใช้งาน Windows, macOS และ Linux

เมื่อ : 14 กุมภาพันธ์ 2568
ผู้ชม : 5,614
มัลแวร์ดังกล่าวทำได้ทั้งการขโมยข้อมูล แอบแคปหน้าจอ จัดการ Process ไปจนถึงการสั่งปิดเครื่องของเหยื่อ
ไม่เล่นด้วย ! ทางการอิตาลีปิดกั้นการใช้งาน DeepSeek ทุกช่องทาง อ้างเหตุละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล

ไม่เล่นด้วย ! ทางการอิตาลีปิดกั้นการใช้งาน DeepSeek ทุกช่องทาง อ้างเหตุละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล

เมื่อ : 13 กุมภาพันธ์ 2568
ผู้ชม : 5,767
ทางการอิตาลีอ้าง DeepSeek ไม่ให้ข้อมูลด้านการจัดการข้อมูล ทั้งท้าทายกฎหมาย นำมาสู่การแบนครั้งนี้
พบช่องโหว่บน Canon Printer หลายรุ่น เปิดช่องให้แฮกเกอร์สั่งใช้งานจากระยะไกลได้

พบช่องโหว่บน Canon Printer หลายรุ่น เปิดช่องให้แฮกเกอร์สั่งใช้งานจากระยะไกลได้

เมื่อ : 13 กุมภาพันธ์ 2568
ผู้ชม : 5,512
ช่องโหว่บน Printer ตระกูล imageCLASS หลายรุ่นเปิดช่องให้แฮกเกอร์ยิงโค้ดอันตรายระดับทำ DoS ใส่ระบบได้
แฮกเกอร์บุกยึดเว็บไซต์ที่ไม่ได้อัปเดต Wordpress ใช้ปล่อยมัลแวร์ใส่ผู้ใช้งาน Windows และ macOS

แฮกเกอร์บุกยึดเว็บไซต์ที่ไม่ได้อัปเดต Wordpress ใช้ปล่อยมัลแวร์ใส่ผู้ใช้งาน Windows และ macOS

เมื่อ : 12 กุมภาพันธ์ 2568
ผู้ชม : 4,500
นักวิจัยเผยว่าพบมากกว่าหมื่นเว็บไซต์ โดยเป็นการหลอกให้ติดตั้ง Google Chrome Update ปลอมเพื่อฝังมัลแวร์
มัลแวร์ดูดเงิน Coyote ใช้ประโยชน์จากไฟล์ LNK เพื่อรันสคริปท์ฝังมัลแวร์ลงเครื่อง

มัลแวร์ดูดเงิน Coyote ใช้ประโยชน์จากไฟล์ LNK เพื่อรันสคริปท์ฝังมัลแวร์ลงเครื่อง

เมื่อ : 12 กุมภาพันธ์ 2568
ผู้ชม : 1,769
มัลแวร์ดังกล่าวมีความสามารถในการขโมยข้อมูลมากมาย และยังปลอมหน้า่เพจเป็นเว็บธนาคาร หลอกกรอกรหัสผ่านได้อีกด้วย